ตัววิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อก ผลงานนักเรียนของ นางสาว ชนิดา ทองพุ่ม ได้เลยค่ะ

วันพุธที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2559

ตรีโกณมิติ

ปัจจุบัน มีการนำตรีโกณมิติไปใช้ในงานสาขาต่าง ๆ เช่น เป็นเทคนิคในการสร้างรูปสามเหลี่ยม ซึ่งใช้ในวิชาดาราศาสตร์เพื่อวัดระยะทางของดาวที่อยู่ใกล้ ในภูมิศาสตร์ใช้วัดระยะทางระหว่างหลักเขตที่ดิน และใช้ในดาวเทียมนำทาง งานที่มีการใช้ประโยชน์จากตรีโกณมิติ ได้แก่ ดาราศาสตร์ (และการนำทางในมหาสมุทร บนเครื่องบิน และในอวกาศ) ,ทฤษฎีดนตรีสวนศาสตร์ทัศนศาสตร์, การวิเคราะห์ตลาดการเงิน, อิเล็กทรอนิกส์ทฤษฎีความน่าจะเป็นสถิติศาสตร์ชีววิทยาการสร้างภาพทางการแพทย์ อ่านเพิ่มเติม


ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ตรีโกณมิติ

วันอาทิตย์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2558

เลขยกกำลัง

เลขยกกําลัง ถา a เปนจํานวนใด ๆ และ n เปนจํานวนเตม็ บวก “ a กําลัง n” หรือ “ a กําลัง n” เขียนแทนดวย an มีความหมายดังนี้ a n = a × a × a ×… a (a คูณกัน n ตัว) n ตัว เรียก an วาเลขยกกําลัง (power) โดยมี a คือฐาน (base) และ n คือเลขยกกําลัง (exponent)อ่านเพิ่มเติม

ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน

1.1.1ความสัมพันธ์  
           ในชีวิตประจำวันจะพบสิ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันอยู่เสมอ  เช่น  สินค้ากับราคาสินค้าคนไทยทุกคนจะต้องมีเลขประจำตัวประชาชนเป็นของตนเอง  ตัวอย่างที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างที่แสดงความสัมพันธ์ของสิ่งสองสิ่งที่มาเกี่ยวข้องกันภายใต้กฎเกณฑ์อย่างใดอย่างหนึ่ง  สำหรับในวิชาคณิตศาสตร์มีสิ่งที่แสดงความสัมพันธ์ดังตัวอย่างต่อไปนี้อ่านเพิ่มเติม

ความสัมพันธ์

1.คู่อนั ดับ ในวิชาคณิตศาสตร์การจับคู่ระหว่างสิ่งสองสิ่งที่มีความสัมพันธ์กันจะใช้คู่อันดับ เป็ นสัญลักษณ์แทนสิ่งสองสิ่งที่มีความสัมพนัธ์กนั เช่น (2,4) หมายถึง 2 มีความสัมพนัธ์กบั 4 ในกรณีทวั่ ไป เราจะเขียนคู่อนัดบั ในรูป (a,b) เรียก a วา่ สมาชิกตวัแรกของคู่อนัดบั หรือ สมาชิกตัวหน้า และเรียก b วา่ สมาชิกตวัที่สองของคู่อนัดบั หรือสมาชิกตัวหลังอ่านเพิ่มเติม


โดเมนและเรนจ์

 เซตของสมาชิกตัวหน้าในคู่อันดับของ r1 = {1,2,3,4} เรียกเซตนี้ว่า โดเมนของ r1
    เซตของสมาชิกตัวหลังในคู่อันดับของ r1 = {2,3,4,5} เรียกเซตนี้ว่า เรนจ์ของ r1
    ส่วนใน r2 จะเห็นว่าโดเมนของ  r2 เท่ากับเรนจ์ของ  r2 คือเซตของจำนวนเต็ม อ่านเพิ่มเติม

ฟังก์ชัน

ในคณิตศาสตร์ ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่ง (โดเมน) ไปยังอีกเซตหนึ่ง (โคโดเมน ไม่ใช่ เรนจ์) โดยที่สมาชิกตัวหน้าไม่ซ้ำกัน ความคิดรวบยอดของฟังก์ชันนี้เป็นพื้นฐานของทุกสาขาของคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ อ่านเพิ่มเติม